Your browser does not support JavaScript!
หน้าหลัก
แผนผังเว็บไซต์
ติดต่อเรา
เกี่ยวกับเรา
ประวัติ
อาคารอนุรักษ์
ผังโครงสร้างกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์
ค่านิยมหลัก
วัฒนธรรมองค์กร
ทำเนียบ / สถานที่ตั้ง
ศูนย์ข้อมูลทางการเงิน
ฐานข้อมูลทางการเงิน
ทะเบียนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร-Online
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
สารสนเทศทางการเงิน
สารสนเทศทางการเงินสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
เครื่องมือทางการเงิน (โปรแกรมทางการเงิน)
การบัญชีและสอบบัญชี
สอบบัญชีภาคเอกชน
ประมวล คำสั่ง ระเบียบ
คำแนะนำและหนังสือเวียนต่างๆ
ระบบบัญชี
ตรวจสอบกิจการ
บันทึกข้อตกลง 7 หน่วยงาน
ระเบียบ
พระราชบัญญัติ
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
คำสั่ง
ผู้ชำระบัญชี
ระเบียบ
ประกาศต่างๆ
มติคณะรัฐมนตรี
โครงการสำคัญ
โครงการพระราชดำริ
โครงการส่งเสริมการจัดทำบัญชี
ต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร
โครงการพัฒนาเกษตรกรที่ทำบัญชีได้
ใช้บัญชีเป็น
โครงการแนะนำการจัดทำบัญชีแก่
เกษตรกรที่ปลูกปาล์มน้ำมันและยางพารา
โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ใช้ข้อมูล
ทางบัญชีอย่างยั่งยืน
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม
(ZONNING BY AGRI-MAP)
โครงการเกษตรอินทรีย์
โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสินค้าเกษตร
โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ
เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร
(ไทยนิยม ยั่งยืน)
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ (สตท.1 - 10)
การกำกับการปฏิบัติงานของครูบัญชี
โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิก
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประมวลภาพ
โครงการย้อนหลัง
เครือข่ายครูบัญชี
พระราชดำรัส
ความเป็นมา
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ครูบัญชีดีเด่นระดับประเทศ
ชมรมอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี
ประมวลภาพกิจกรรม
แนะนำหนังสือครูบัญชีดีเด่นประจำปี
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
เว็บไซต์หน่วยงาน
Intranet
อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
สารคดีแนะนำกรมฯ
ข่าวประกาศ
ประกาศ เรื่องรับสมัครคัดเลือกบุคลากรภาครัฐเพื่อรับทุนรัฐบาลไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ ประจำปี 2563
อ่านทั้งหมด
ข่าวเด่นวันนี้
ปี 2559
อตส. เข้าสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในโอกาสอำลาตำแหน่ง (30/09/2559)
กตส. จัดงานเลี้ยงอำลาอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ (30/09/2559)
สตส.มุกดาหาร ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2559 สหกรณ์การเกษตรดงหลวง จำกัด (30/09/2559)
สตส.บึงกาฬ ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปผลการปฏิบัติงานปี 2559 และซักซ้อมการปฏิบัติงานปี 2560 (30/09/2559)
สตส.นครปฐม จัดนิทรรศการ "โครงการจังหวัดนครปฐมพบประชาชน และโครงการหน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุขสร้างรอยยิ้มให้ประชาชน (30/09/2559)
อ่านทั้งหมด
ข่าวสาร
ข่าวประกาศ
Clipping Online
แจ้งข่าวประจำวัน
บทความน่าสนใจ
ประกาศราคากลาง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
มัลติมีเดีย
คลื่นเกษตรกร AM 1386 KHZ
วารสาร กตส.
สปอต
สารคดี
รายงานประจำปี
ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
เพลงของพ่อ
e-Service
ศูนย์วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจและการเงินสหกรณ์แห่งชาติ NCEFIC
แจ้งเรืองร้องทุกข์
เว็บบอร์ด
KNOWLEDGE MANAGEMENT
CALL CENTER 0 2016 8888 ต่อ 2108
บริการ
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2554
Download แบบฟอร์ม
สภาวิชาชีพบัญชี
แผนความต่อเนื่องของ กศส. เพื่อเตรียมพร้อมสภาวะวิกฤต
ครูบัญชี
ร้องทุกข์/ร้องเรียน
ครูบัญชีอาสา
ดาวน์โหลด App กระทรวงเกษตรฯ
แนวทางปฏิบัติงานโครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
พัฒนาระบบบริหาร กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม
CAD Conference
เกษตรกรปราดเปรืองด้านบัญชี
Q&A
ศูนย์ปฏิบัติการ
คู่มือ ปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
สหกรร์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
แนวทางและขั้นตอนการปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนา ศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง ในส่วนขององค์การสวนยาง
สมุดบัญชี - รับจ่ายในครัวเรือน
ระบบฐานข้อมูล สอ.ธปอ.
โดย ...เอกชัย เกิดสวัสดิ์ กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่เป็นผู้นำในภาคการประมงของโลก โดยข้อมูลจาก FAO (Food and Agriculture Organization of the United Nations) ปี 2558 ไทยติดอันดับ 1 ใน 20 ของการประมงโลก เมื่อพิจารณาถึงอัตราการเจริญเติบโตของ GDP ภาคการประมงของประเทศกับอัตราการเจริญเติบโตมูลค่าธุรกิจของสหกรณ์ประมง จะเห็นว่าในรอบ 5 ปี (ปี 2557 – 2561) อัตราการเจริญเติบโต GDP ของภาคการประมงและอัตราการเจริญเติบโตมูลค่าธุรกิจของสหกรณ์ประมงมีอัตราการหดตัวในช่วงปี 2557 เนื่องจากต้นทุนที่สูงขึ้นจากราคาน้ำมัน ปัญหาจากโรคตายด่วน (EMS) และเกิดวิกฤตทางการเมือง สถานการณ์เริ่มดีขึ้นในช่วงปี 2558 – 2559 โดยในปี 2558 ระดับราคาน้ำมันในตลาดโลกลดลงมากจากปี 2557 ในขณะเดียวกันโรคตายด่วนในกุ้งทะเลได้คลี่คลายไปทางที่ดี และวิกฤตทางการเมืองดีขึ้น แต่ในช่วงปี 2560 – 2561 อัตราการเจริญเติบโต GDP ภาคการประมงและอัตราการเจริญเติบโตมูลค่าธุรกิจของสหกรณ์มีอัตราการหดตัวอีกครั้ง เนื่องจากอียูประกาศให้ใบเหลืองกับไทย (IUU Fishing) และรัฐบาลออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมถึงปัญหาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า ทำให้ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าประมงไปยังกลุ่มประเทศอียู และส่งผลกระทบต่อประมงพื้นบ้าน ที่มา : จากผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ. สำนักงานสภาพัฒนาการ ที่มา : จากผู้สอบบัญชี ระบบสารสนเทศทางการเงิน เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . https://www.nesdb.go.th/ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สหกรณ์ประมงในปี 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 74 แห่ง มีจำนวนสมาชิก 15,159 คน ใช้เงินทุนดำเนินงานเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี 2561 ใช้ทุนดำเนินทั้งสิ้น 1,145.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 30.34 แหล่งที่มาของเงินทุน ได้แก่ เงินรับฝากจากสหกรณ์อื่น เงินรับฝากจากสมาชิก ทุนเรือนหุ้น และแหล่งที่มาอื่นๆ ซึ่งทุกแหล่งที่มาของเงินทุนมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ส่วนการดำเนินธุรกิจมี 6 ประเภทธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ธุรกิจแปรรูปผลิตผล และธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร มีมูลค่าทั้งสิ้น 1,645.32 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 4.91 ที่มา : จากผู้สอบบัญชี ระบบสารสนเทศทางการเงิน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผลการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ประมง ในช่วงปี 2557 ได้เกิดปัญหาราคาน้ำมัน เกิดโรคในกุ้ง และวิกฤตการเมือง ทำให้ธุรกิจส่วนใหญ่มีมูลค่าลดลง โดยเฉพาะธุรกิจรวบรวมผลิตผล เนื่องจากการรวบรวมผลผลิตกุ้งลดลง แต่ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายมีมูลค่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากสหกรณ์ประมงได้ปรับเปลี่ยนมาดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้า มาจำหน่ายเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสินค้าเกษตร ส่วนในปี 2560 – 2561 ได้เกิดปัญหาอียูให้ใบเหลืองกับไทย (IUU Fishing) การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด และปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า แต่ปัญหาดังกล่าวไม่ได้ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ประมงมาก เนื่องจากปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ประมงจะเป็นปัญหาจากต้นทุนของการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันสูงขึ้น หรือการเกิดโรคในการเลี้ยงกุ้ง การเลี้ยงสัตว์น้ำ จึงทำให้ธุรกิจส่วนใหญ่ยังมีมูลค่าธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจรวบรวมผลผลิตที่มีอัตราการเจริญเติบโตของมูลค่าธุรกิจเพิ่มสูงขึ้นมากที่สุด แต่ธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ในปี 2561 มีมูลค่าลดลง เนื่องจากในปี 2560 สหกรณ์ประมงอาจวิเคราะห์ปัญหาข้างต้นที่จะส่งผลกระทบต่อสหกรณ์ จึงปรับเปลี่ยนไปดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้าเกษตรมาจำหน่ายมากขึ้น ทำให้มูลค่าธุรกิจในปี 2560 เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ปัญหาดังกล่าวไม่ได้ส่งผลรุนแรง จึงได้ลดการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายลงในปี 2561 การคาดการณ์แนวโน้มมูลค่าธุรกิจในปี 2562 พบว่า ธุรกิจรวบรวบผลิตผลมีมูลค่าเพิ่มขึ้นมากที่สุด ร้อยละ 6.99 รองลงเป็นธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ร้อยละ 5.62 ส่วนธุรกิจแปรรูปผลิตผลและธุรกิจเงินรับฝากมีมูลค่าธุรกิจลดลง ร้อยละ 18.63 , 6.76 ตามลำดับ จากการพิจารณามูลค่าธุรกิจของสหกรณ์ประมง ในปี 2561 และการคาดการณ์ในปี 2562 จะเห็นว่าธุรกิจรวบรวมผลผลิตมีความน่าสนใจเนื่องจากผลการดำเนินงานมีการขยายไปในทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิตกุ้ง ที่มีการอัตราการเติบโตที่สูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา 10.89 เท่า ของมูลค่าของการรวบรวมผลผลิตกุ้ง หรือ ร้อยละ 39.83 ของธุรกิจการรวบรวมผลผลิตทั้งสิ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลผลิตกุ้งในภาพรวมของประเทศที่มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นในปี 2561 อยู่ที่ 273,804 ต้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.32 ที่มา : สินค้าประมงของไทย . กรมประมง , https://www4.fisheries.go.th/ ที่มา : ระบบสารสนเทศทางการเงิน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หากพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างการรวบรวมผลผลิตกุ้งของสหกรณ์ประมงในรอบ 5 ปี (ปี 2557 – 2561) และการพยากรณ์ในปี 2562 กับข้อมูลการส่งออกกุ้งในปี 2557 – 2561 และการพยากรณ์ในปี 2562 ของกรมประมงและกรมศุลกากร พบว่า มูลค่าการรวบรวมผลผลิตกุ้งของสหกรณ์ประมงมีแนวโน้มสูงขึ้น ตั้งแต่ปี 2558 – 2561 และคาดการณ์ว่าในปี 2562 มูลค่าการรวบรวมผลผลิตกุ้งจะเพิ่มสูงถึง 320.49 ล้านบาท ซึ่งสอดคล้องกับมูลค่าการส่งออกกุ้งของประเทศไทยปี 2558 มูลค่าการส่งออกลดลง และเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2558 – 2560 แต่ในปี 2561 มูลค่าการส่งออกลดลง เนื่องจากปัญหาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และการติดใบเหลือง (IUU Fishing) ทำให้ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าประมงไปยังกลุ่มประเทศกลุ่มอียู แต่คาดการณ์ว่าในปี 2562 มูลค่าการส่งออกกุ้งจะเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากปัจจัยที่ไทยสามารถปลดใบเหลือง (IUU Fishing) ของกลุ่มประเทศ EU ได้สำเร็จ ซึ่งจะส่งผลให้การส่งสินค้าประมงไปยังกลุ่มประเทศ EU เพิ่มสูงขึ้น และจะส่งผลให้สหกรณ์ประมงที่เลี้ยงกุ้งสามารถเพิ่มผลผลิต และมีรายได้เพิ่มขึ้นในการทำธุรกิจรวบรวมกุ้ง ดังนั้น สหกรณ์ประมง ควรมีมาตรการป้องกันเพื่อลดผลกระทบความแปรปรวนของภูมิอากาศต่อการเลี้ยงกุ้ง ลดต้นทุนการผลิต ต้นทุนการดำเนินงาน เนื่องจากสัดส่วนต้นทุนทางธุรกิจกับรายได้ของธุรกิจมีสัดส่วนใกล้เคียงกัน ทำให้ผลกำไรธุรกิจไม่คุ้มค่ากับการดำเนินของธุรกิจ รัฐบาลควรส่งเสริมให้มีการบริโภคภายในประเทศมากขึ้น และหาช่องทางตลาดเพิ่มขึ้น และเตรียมการรองรับการผลิตกุ้งให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและมาตรฐานของประเทศ คู่ค้า เช่น BAP ของสหรัฐฯ ASC ของ EU และสร้างความเชื่อมั่นในระบบตรวจสอบย้อนกลับของไทยต่อไป
ข่าว/บทความยอดนิยม
ข่าว/บทความที่คะแนนโหวตสูงสุด
ข่าว/บทความล่าสุด
Learning English : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (22/03/2550)
สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loan: NPL) ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรปี 2555
ผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร
"อ้อย"รวบรวมผลผลิตขยายตัว 26.43%
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 2/2558
มิติทางการเงินที่มีผลต่อหนี้สินของสหกรณ์ประมงในประเทศไทย
สหกรณ์ไทย ...คืนกำไรสู่สมาชิก 80.52 %
รายงานภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 4/2555
ครัวเรือนภาคสหกรณ์ออมเงินเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 12.34%
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2557
เงินออมภาคสหกรณ์ไทย รายไดรมาส ปี 2562
กฎหมายปกครองสำหรับผู้บริหาร
สินเชื่อและหนี้ที่ชำระไม่ได้ตามกำหนด /(NPL) ภาคสหกรณ์ไทยเป็นไปในทิศทางใด ในปี 2561
สถานการณ์ด้่านเศรษฐกิจของสหกรณ์ประมงกับทิศทางแนวโน้มปี 2562
เงินออมภาคสหกรณ์ไทย ปี 2561
จำนวนคนอ่าน 4543 คน
จำนวนคนโหวต 9 คน
โหวตคะแนนให้ข่าว/บทความนี้
1
2
3
4
5
ระดับ
ให้ 1 คะแนน
0%
ให้ 2 คะแนน
0%
ให้ 3 คะแนน
0%
ให้ 4 คะแนน
11%
ให้ 5 คะแนน
89%
Copyright 2016 by Cooperative Auditing Department
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 12 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 ศูนย์บริการประชาชน (Call Center) 0 2016 8888